รินเลือดรักลงแก้วแล้วแจกจ่าย
รินเลือดรักลงแก้ว แล้วแจกจ่ายดื่มสิ สหายแห่งข้าเพื่อละลายและลดละอัตตาชุ่มชีวา ข้ารักท่าน นิรันดร์ไปเลือดแห่งข้า โลหิตท่าน บันดาลรักมิตรภาพ หน่วงหนักจักยิ่งใหญ่หมดแก้ว จำหลักรักหมดใจเลือดหรือเหล้า แก้วใด มอบให้มิตรรินอีกแก้ว แล้วแจกจ่าย ให้ถ้วนทั่วดื่มละลายตนตัว อย่ามัวออดอิดน้ำเนื้อนี้แห
บางทีพวกเด็ก ๆ คงอยากรู้ว่าเพื่อน ๆ ที่หายไปตอนนี้พวกเขาเป็นเช่นไรบ้าง?
เด็ก ๆ ร้องห่มร้องไห้เมื่อเห็นสภาพโรงเรียนของเขา ซึ่งบัดนี้เหลือไว้เพียงเสาธงต้นเดียวเท่านั้น
อร่ามนั่งกอดกระเป๋าเรียนในชุดนักเรียน เขานั่งหลังพิงเสาธงมองอาคารซึ่งเมื่อก่อนเคยเป็นห้องเรียนของตัวเอง ฝาผนังห้องรวมทั้งโต๊ะเก้าอี้ โดนน้ำกวาดกองรวมกันเป็นเศษไม้กองพะเนิน อาคารเหลือเพียงหลังคาเอียงกระเท่เร่ไม่ปลอดภัยอีกแล้ว กำแพงอิฐรอบโรงเรียนเหมือนโดนยักษ์ปักลั่นเหยียบล้มพังพาบเรียบเป็นหน้ากลอง สนามฟุตบอลที่เคยสวยงามด้วยหญ้าญี่ปุ่นกลายเป็นที่รวมเศษสิ่งปรักหักพังเกือบทุกอย่างนับตั้งแต่ ถ้วย ถังกะละมัง หม้อ ต้นไม้ โต๊ะเก้าอี้ รถยนต์หรือแม้กระทั่งเรือ มีเสาธงต้นเดียวที่ยังคงสภาพเดิมบอกให้รู้ว่าที่นี่ บริเวณนี้คือโรงเรียนของพวกเขา .ให้ความหมายประมาณว่าคลื่นยักษ์ทำลายสิ่งใดก็ย่อมได้ ยกเว้นประเทศไทยเท่านั้น อร่ามและเพื่อน ๆ ต่างสะอึกสะอื้นไม่หยุดหย่อนราวกับมาประชันร้องไห้กัน รอบ ๆ เสาธงจึงระงมไปด้วยเสียงร้องร่ำ.ตอนอร่ามร้องหากสังเกตก็จะรู้ว่าเขาไม่ได้ติดอ่างเหมือนเวลาที่เขาพูด
สองคมคิด มิตรน้ำหมึก สมาคม-เครือข่ายนักเขียนแห่งประเทศไทย
สองคมคิด มิตรน้ำหมึก สมาคม-เครือข่ายนักเขียนแห่งประเทศไทย โดย ผู้จัดการรายวัน 27 พฤศจิกายน 2549 10:09 น. วรรณกรรมไทยตายแล้ว !?คำพูดนี้พูดกันมาเป็นสิบๆ ปีแล้วในแวดวงนักเขียนบ้านเรา ต้องยอมรับว่าในประเทศที่มีผลสำรวจคนอ่านหนังสือเฉลี่ยปีละไม่กี่บรรทัด ขณะที่ภาษีกระดาษ
ดาวสะท้อน
ดาวสะท้อน กลับย้อนเยือนไปอยู่ในเยาว์ของชีวิต ฤดูหนาวอันอ่อนไหว หัวใจอันอ่อนโยน คืนกลับมาอีกครั้ง ที่ท้องทุ่งนาในค่ำคืนแรม เนื่องนานนับสิบยี่สิบปี ที่เราเคยอยู่ร่วม ถนนสายนั้นมีสิ่งใด ฉันไม่เคยคิดถึงสิ่งอื่น ณ ขณะห้วงยามนั้น ในท้องทุ่งที่มีค่ำคืนดาวไสว ของฤดูเก็บเกี่ยวพืชผลของเรา เหมือนฉันไม่เคยโต เมื่อนึกถึงยามอยู่บนหลังของเธอ ฟังเธอเล่านิทานดวงดาว ดุ่มเดินไปตามถนนสายอันมืดมัว สายหมอกโรยตัวตาม อายเย็นปะทะผิว เยือกสะท้านถึงขั้วหัวใจวัยเยาว์ กว่าจะถึงเพิงพักในไร่นา ฉันเหลือบแลเห็น ดาวสะท้อนในดวงตาของเธอ
จาก http://eastism.blogspot.com/
Orhan Pamuk นักเขียนรางวัลโนเบล 2006
"การกะเทาะอย่างถึงแก่นลงไปในจิตวิญญาณ อันเป็นรากเหง้าของประเทศบ้านเกิด ก่อให้เกิดการค้นพบสัญลักษณ์ใหม่ๆ ในการปะทะและการหลอมรวมกันของวัฒนธรรมอื่นๆ"
โมเรซ อิงดาห์ล (Mr. Morace Engdahl) เลขานุการคณะกรรมการตัดสินรางวัลโนเบลปี 2006 กล่าวสั้นๆ พร้อมประกาศว่า ออร์ฮัน ปามุก (Orhan Pamuk) นักเขียนดังชาวตุรกี คือผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมของปีนี้ เมื่อวันที่ 12 ตุลาคมที่ผ่านมา
ประวัติศาสตร์และพัฒนาการของนักเขียนใต้
หนังสือเล่มนี้รวบรวม 12 เรื่องสั้นของนักเขียนชาวใต้ที่มีเนื้อหาสะท้อนภาพลักษณ์และโลกทัศน์ของชาวภาคใต้ เรื่องสั้นทั้ง 12 เรื่องไม่เพียงแต่จะเป็นเรื่องสั้นที่มีคุณภาพที่สุดเท่านั้น แต่ยังมีฐานะเป็น "หลักไมล์" ของพัฒนาการวรรณกรรมของนักเขียนชาวใต้ และวรรณกรรมไทยโดยรวมอีกด้วย เพราะการยอมรับโดยสถาบันทางวรรณกรรมที่น่าเชื่อถือผ่านการมอบรางวัลต่างๆ นั้นได้สะท้อนถึงการรับรองอย่างเป็นทางการที่อาจปฏิเสธได้ยากเต็มที
นิทานบนฝาผนัง
เสียงเด็ก ๆ กำลังไล่จับลูกไก่.
"ใครอยากฟังนิทานบ้าง.มาทางนี้" ผมตะโกนออกไปทั้ง ๆ ที่ไม่มีนิทานอะไรจะเล่า
"เฮย.ไอ้ลุงคนนั้นจะเล่านิทานให้เราฟัง เราไปฟังนิทานก่อนเดี๋ยวค่อยมาจับกันใหม่"
เสียงวิ่งอ้อมไปทางหน้าบ้าน แล้วผมก็เห็นหน้าพวกเขาเกือบทั้งหมดยืนสลอนอยู่ที่ปลายเตียง
พวกเขามีหลายคนเสียจนแยกแยะไม่ออกว่าเป็นลูกหลานใคร บางคนขาดคนสอนให้รู้จักใช้คำพูดคำจาที่เหมาะสม แต่ดูเหมือนการรับราชการมานานทำให้เราห่างเหินจากเด็ก ๆ ไป แต่ก็นั่นแหละพวกเขาเป็นเด็กรุ่นนี้ ใช่.นี่คือเด็กรุ่นนี้
แด่ ม.ร.ว.กีรติ เหยื่อของฝรั่งคนสุดท้าย ในวรรณกรรมไทย
แด่ ม.ร.ว.กีรติ เหยื่อของฝรั่งคนสุดท้ายในวรรณกรรมไทยนิธิ เอียวศรีวงศ์สุชาดา จักรพิสุทธิ์นักวิชาการอาวุโส นักวิชาการอิสระ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนหมายเหตุ : บทความชิ้นนี้ประกอบด้วยผลงานเขียน ๒ ชิ้น๑. แด่ ม.ร.ว.กีรติ โดย นิธิ เอียวศรีวงศ์ (เคยตีพิมพ์แล้ว)๒. รักโรแมนติคคืออะไร ? โดย สุชาดา จักรพิสุท
ปีศาจของกาลเวลา : การรื้อฟื้นงานเสนีย์ เสาวพงศ์ในยุคแสวงหา
ปีศาจของกาลเวลา : การรื้อฟื้นงานเสนีย์ เสาวพงศ์ในยุคแสวงหาประจักษ์ ก้องกีรติ : เขียนคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์หมายเหตุ : บทความนี้ได้มาจากกระดานข่าวมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนเผยแพร่บนเว็ปไซต์นี้ครั้งแรกเมื่อวันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๘(บทความทั้งหมดยาวประมาณ 10 หน้ากระดาษ A4)เกริ่นนำราวปี 2513
สัมภาษณ์ Ngugi Wa Thiong'o ในฐานะนักเขียนกบฎ
เกี่ยวกับวรรณกรรมหลังอาณานิคมสัมภาษณ์ Ngugi Wa Thiong'o ในฐานะนักเขียนกบฎสมเกียรติ ตั้งนโม : เรียบเรียงสาขาจิตรกรรม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่หมายเหตุ : บทความชิ้นนี้ประกอบด้วยบทสัมภาษณ์Ngugi Wa Thiong'o โดย Michael Alexander Pozoภาคผนวก ชีวประวัติของนักเขียน และภาคผนวกการทำความเข้า